สิ่งที่ควรทำหลังจากลงUbuntu

 

สิ่งที่ควรทำหลังจากลงUbuntu 

1.ตั้งรหัสผ่าน root โดยการเปิดโปรแกรม terminal ขึ้นมาโปรแกรมจะอยู่ที่แทบทางขวามือหรือกด ctrl+alt+t (terminal คือโปรแกรมที่ใช้ในการสั่งการในubuntu) จากนั้นใช้คำสั่ง sudo passwd  จากกดEnter ใส่รหัสผ่านของเราลงไปกดEnter (รหัสที่เราใส่ตอนsetup(ในการใส่รหัสในUbuntuนั้นจะไม่แสดง * เหมือนในwindows แต่จะไม่แสดงอะไรเลย )) จากนั้นใส่รหัสผ่านของเราจากนั้นกด Enter จากนั้นใส่รหัสเดิมอีกครั้งเพื่อยืนยันรหัสผ่านของเราจากนั้นกด Enter เป็นอันเสร็จพิธี
2.ปลดล๊อคเพื่อให้เครื่องเราสามารถอัพเดดได้ sudo rm /var/lib/apt/lists/lock และ sudo rm /var/cache/apt/archives/lock
(รหัสผ่านคือรหัสที่ผ่านrootเราทำไปในข้อ1)
3.

ขั้นตอนในการลงUbuntu




สำหรับการลง Ubuntu นั้น  จะลงUbuntu อย่างเดียวหรือจะลง Ubuntu กับระบบปฏิบัติการอื่นได้ เช่น ลงระบบปฏิบัติการ windows คู่กับ Ubuntu ลงเฉพาะ Ubuntu อย่างเดียวก็ได้  หรือทดลองใช้แบบไม่ต้องsetup ก็ได้ 

ขั้นที่ 1  ไป download ที่เว็บ Ubuntu



ขั้นที่ 2 หาตัว BOOT OS จะใช้แผ่นหรือใช้  USB ก็ได้ 


            ถ้าใช้แผ่นให้หาโปรแกรม Burn iso แนะนำ iso burner  ดาวน์โหลด

             
            ถ้าใช้ USB  แนะนำให้ใช้ rufus ดาวน์โหลด

ขั้นที่ 3 ทำการBOOT เครื่อง เสียบ usb หรือใส่แผ่นที่ทำเป็นตัวbootเอาไว้ และเริ่มเข้าสู่การ setup os  ได้เลยครับ


ขั้นตอนใน Setup

 

 

 

Ubuntu คืออะไร





            
            อูบุนตู (Ubuntu) เป็นระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ที่เป็นระบบปฏิบัติการแบบเปิดซึ่งมีพื้นฐานบนลินุกซ์ดิสทริบิวชันที่พัฒนาต่อมาจากเดเบียน การพัฒนาสนับสนุนโดยบริษัท Canonical Ltd ซึ่งเป็นบริษัทของนายมาร์ก ชัทเทิลเวิร์ธ ชื่อของดิสทริบิวชันนั้นมาจากคำในภาษาซูลู และภาษาโคซา (ภาษาในแอฟริกาใต้) ว่า Ubuntu ซึ่งมีความหมายในภาษาอังกฤษคือ "humanity towards others"
        อูบุนตูต่างจากเดเบียนตรงที่ออกรุ่นใหม่ทุก 6 เดือน และแต่ละรุ่นจะมีระยะเวลาในการสนับสนุนเป็นเวลา 18 เดือน รุ่นปัจจุบันของ Ubuntu คือ 14.04
        ซอฟต์แวร์ต่างๆ ที่รวมมาใน อูบุนตูนั้นเป็นซอฟต์แวร์เสรีเกือบทั้งหมด(มีบางส่วนที่เป็นลิขสิทธิ์ เช่น ไดรเวอร์) โดยจุดมุ่งหมายหลักของ อูบุนตูคือเป็นระบบปฏิบัติการสำหรับคนทั่วไป ที่มีโปรแกรมทันสมัย และมีเสถียรภาพในระดับที่ยอมรับได้
      

       ที่มา


         วิกิ